สรุปมาตรการ จัดการภัยทุจริตทางการเงิน
รวบตึงมาตรการ 'ภาครัฐ' ผนึก 'ธนาคาร' จัดการภัยทุจริตทางการเงิน เพื่อช่วยเหลือประชาชนปลอดภัยจากมิจฉาชีพ

รวบตึงมาตรการ 'ภาครัฐ' ผนึก 'ธนาคาร' จัดการภัยทุจริตทางการเงิน เพื่อช่วยเหลือประชาชนปลอดภัยจากมิจฉาชีพ
เปิดโผ...โรงเรียนดังที่สอบติด 'กำเนิดวิทย์'
พาส่องเบอร์โทรศัพท์ 12 ธนาคาร สำหรับรับแจ้งเหตุ เมื่อเจอภัยทางการเงินจากมิจฉาชีพ
เมื่อปี 2565 เราได้รับข่าวดีคณะทำงานในกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องว่า ที่ประชุมคณะกรรมการพิเศษเฉพาะเรื่อง ด้านการส่งเสริมนวัตกรรมการอุดมศึกษา ได้อนุมัติ 4 หลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ ตอบสนองการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา (Higher Education Sandbox) ซึ่งก้าวข้ามขีดจำกัดของการจัดการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานเดิม เพื่อจัดการศึกษารูปแบบใหม่ สร้างนวัตกรรมการอุดมศึกษา มุ่งเน้นผลิตคนให้ตอบโจทย์ความต้องการของภาคการผลิต (Demand Driven) และเท่าทันความต้องการของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ โดยทั้ง 4 หลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ นั้น คือ
1.) หลักสูตรการผลิตและพัฒนากำลังคนสาขาฉุกเฉินการแพทย์
นำโดยวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยอีก 6 แห่ง และสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ สถาบันพระบรมราชชนก ตั้งเป้าผลิตกำลังคนสาขาฉุกเฉินการแพทย์ ระดับผู้ประกอบโรคศิลปะ จำนวน 15,000 คน ภายใน 10 ปี
2.) หลักสูตรการผลิตบุคลากร High-tech Entrepreneur
นำโดย International School of Management (ISM) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับ Harbour.Space University ประเทศสเปน หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย (Thaichamber) และบริษัทต่างๆ ตั้งเป้าผลิตกำลังคนที่มีความรู้ขั้นแนวหน้า (frontier knowledge) ด้านเทคโนโลยี จำนวน 400 คน ภายใน 7 ปี
3.) หลักสูตรการผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัล
นำโดยมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล และสถาบันวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยอีก 6 แห่ง ตั้งเป้าผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัล 1,880 คน ภายใน 8 ปี
4.) หลักสูตรการผลิตกําลังคนศักยภาพสูงที่มีความรู้เชิงลึกด้านวิทยาศาสตร์และแนวคิดเชิงนวัตกรรม
นำโดยวิทยสถานวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย (ธัชวิทย์) สำนักงานปลัดกระทรวง อว. ร่วมกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และสถาบันอุดมศึกษา ตั้งเป้าผลิตกําลังคนทักษะสูงที่มีความรู้เชิงลึกด้านวิทยาศาสตร์ และแนวคิดเชิงนวัตกรรม 175 คน ภายใน 9 ปี โดยรวมแล้วจะสร้างบุคลากรที่ตอบโจทย์ความต้องการของประเทศในด้านต่างๆ ได้ทั้งสิ้นกว่า 17,455 คน
จนกระทั่ง ล่าสุดในปี 2566 นี้ กระทรวง อว.ปลดล็อกอีก 2 หลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ ได้แก่
5.) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล โดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งเป้าผลิตกำลังคนในกลุ่มวิศวกรคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล 1,200 คน
6.) หลักสูตรการจัดการบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการบินนานาชาติ โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ตะวันออก เพิ่มการผลิตกำลังคนในกลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
1. ญี่ปุ่น 14 ราย (ร้อยละ 27) เงินลงทุน 3,588 ล้านบาท
2. สิงคโปร์ 6 ราย (ร้อยละ 12) เงินลงทุน 410 ล้านบาท
3. สหรัฐอเมริกา 6 ราย (ร้อยละ 12) เงินลงทุน 9 ล้านบาท
4. สหราชอาณาจักร 5 ราย (ร้อยละ 10) เงินลงทุน 98 ล้านบาท
5. จีน 3 ราย (ร้อยละ 6) เงินลงทุน 548 ล้านบาท
นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ตัวเลขการลงทุนผ่านช่องทางการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว เดือนมกราคม ปี 2566 ได้อนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาลงทุนประกอบธุรกิจในประเทศไทย ภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 จำนวน 52 ราย โดยเป็นการลงทุนผ่านช่องทางการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จำนวน 22 ราย และการขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จำนวน 30 ราย เงินลงทุนทั้งสิ้น 5,129 ล้านบาท จ้างงานคนไทย 298 คน
1. ญี่ปุ่น 14 ราย (ร้อยละ 27) เงินลงทุน 3,588 ล้านบาท
2. สิงคโปร์ 6 ราย (ร้อยละ 12) เงินลงทุน 410 ล้านบาท
3. สหรัฐอเมริกา 6 ราย (ร้อยละ 12) เงินลงทุน 9 ล้านบาท
4. สหราชอาณาจักร 5 ราย (ร้อยละ 10) เงินลงทุน 98 ล้านบาท
5. จีน 3 ราย (ร้อยละ 6) เงินลงทุน 548 ล้านบาท
นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ตัวเลขการลงทุนผ่านช่องทางการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว เดือนมกราคม ปี 2566 ได้อนุญาตให้คนต่างชาติเข้ามาลงทุนประกอบธุรกิจในประเทศไทย ภายใต้พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 จำนวน 52 ราย โดยเป็นการลงทุนผ่านช่องทางการขอรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จำนวน 22 ราย และการขอหนังสือรับรองการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว จำนวน 30 ราย เงินลงทุนทั้งสิ้น 5,129 ล้านบาท จ้างงานคนไทย 298 คน
แม้ 2 พรรคใหญ่ อย่าง 'พลังประชารัฐ' และ 'รวมไทยสร้างชาติ' จาก 2 ป. พี่น้อง 'ป้อม-ตู่' จะเริ่มออกมาเรียกคะแนนเรียกคะแนนเสียง และฟาดฟันกันด้วยนโยบายเคลมบลัฟแบบไม่ไว้หน้ากัน จนสะท้อนภาพรอยร้าวในความสัมพันธ์ของคู่พี่น้องให้ประชาชนสัมผัสได้ชัดขึ้น แต่หากย้อนดูโพลเมื่อวันที่ 29 ม.ค.66 ก็เชื่อว่านี่น่าจะยังเป็นเพียงความดุเดือดทางการเมือง ที่ท้ายสุด อาจจะเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์แยกกันเดิน ร่วมกันตี หลังการเลือกตั้งนี้จบลง ก็เป็นไปได้
ศูนย์สำรวจความคิดเห็น 'นิด้าโพล' สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ในวันนั้นได้เปิดเผยผลสำรวจของประชาชน เรื่อง 'พรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) ปะทะ พรรครวมไทยสร้างชาติ (รทสช.)' ทำการสำรวจระหว่าง วันที่ 23-25 มกราคม 2566 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 1,310 หน่วยตัวอย่าง เกี่ยวกับการแข่งขันทางการเมืองระหว่าง รองนายกรัฐมนตรี พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ จากพรรคพลังประชารัฐ (พปชร.) กับ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา จากพรรครวมไทยสร้างชาติ (รทสช.)
การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0
อันดับที่ 1 รร.สวนกุหลาบ สอบเข้าได้ 29 คน
อันดับที่ 2 รร.สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน สอบเข้าได้ 24 คน
อันดับที่ 3 รร.บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สอบเข้าได้ 16 คน
อันดับที่ 4 รร.แสงทองวิทยา สอบเข้าได้ 11 คน
อันดับที่ 5 รร.ภูเก็ตวิทยาลัย สอบเข้าได้ 10 คน
อันดับที่ 6 รร.อุดรวิทยานุกูล สอบเข้าได้ 7 คน
นายเศรษฐา ทวีสิน ประธานอำนวยการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) (SIRI) กล่าวว่า ปี 65 นับเป็นอีกปีท่ามกลางความท้าทายที่แสนสิริผ่านมาได้อย่างแข็งแกร่งในรอบ 38 ปี จากการมุ่งมั่นดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานความไว้วางใจและเชื่อมั่นจากลูกค้าจนส่งผลให้เป็นแบรนด์อันดับหนึ่งของคนอยากมีบ้าน ส่งผลให้ แสนสิริได้รับการตอบรับที่ดีจากกลุ่มลูกค้าและมีผลประกอบการที่แข็งแกร่ง ทั้งในด้านผลงานยอดขายรวมที่ทำได้ถึง 50,000 ล้านบาท โตขึ้นเกือบ 50% จากปีที่ผ่านมา ขณะที่รายได้รวมในปี 65 แสนสิริมีรายได้รวมทั้งสิ้น 34,983 ล้านบาท โดยเป็นรายได้จากการขายโครงการที่อยู่อาศัยอยู่ที่ 30,716 ล้านบาท รายได้หลักมาจากที่อยู่อาศัยประเภทแนวราบและแนวสูงในสัดส่วน 67% : 33%
นอกจากนี้ สรุป ผลการดำเนินงานปี 65 แสนสิริยังมีกำไรสุทธิที่โดดเด่น โดยมีกำไรสุทธิสูงถึง 4,280 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2564 ที่มีกำไรสุทธิ 2,017 ล้านบาท ถึง 112% นับว่าเป็นบริษัทที่มีอัตราการเติบโตด้านกำไรสูงที่สุดในอุตสาหกรรมหรือกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ขณะนี้ อัตรากำไรสุทธิเพิ่มขึ้นเป็น 12.2% ของรายได้รวม โตขึ้นจากปีก่อนที่มีอัตรากำไรสุทธิ 6.8%