'เจ้าฟ้าพร' หรือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กษัตริย์ยุคชิงราชสมบัติ | THE STATES TIMES Story EP.138
เปิดพระราชประวัติ 'พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ' กษัตริย์ในยุคแห่งการชิงราชสมบัติ ผู้ฟื้นฟูพุทธศาสนาดินแดนลังกา และเป็นยุคแห่งวรรณคดีดังมากมาย
เปิดพระราชประวัติ 'พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ' กษัตริย์ในยุคแห่งการชิงราชสมบัติ ผู้ฟื้นฟูพุทธศาสนาดินแดนลังกา และเป็นยุคแห่งวรรณคดีดังมากมาย
‘สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระ’ หรือ ‘สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9’ หรือ ‘พระเจ้าท้ายสระ’ หรือ ‘พระเจ้าภูมินทราชา’ หรือ ‘พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์’ หรือ ‘ขุนหลวงท้ายสระ’ ที่เราคุ้นเคยดีจากละครเรื่องพรหมลิขิต เป็นพระเจ้าแผ่นดินพระองค์ที่ 30 ในสมัยอยุธยา
นอกจากพระราชกรณียกิจที่เห็นเป็นประจักษ์แล้ว ยังมีตำนานกล่าวขานเล่าลือว่า ‘ขุนหลวงท้ายสระ’ โปรดเสวย ‘ปลาตะเพียน’ มาก จนถึงขั้นออกพระราชกำหนดห้ามราษฎรจับหรือรับประทานปลาตะเพียน หากผู้ใดฝ่าฝืน มีบทลงโทษคือปรับเป็นเงิน 5 ตำลึง หรือ 20 บาท
หลายคนคงคุ้นชื่อ ‘เจ้าฟ้ากุ้ง’ หรือ ‘เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์’ หรือจากคำให้การชาวกรุงเก่าว่า ‘เจ้าฟ้านราธิเบศร์’ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นเจ้าฟ้าที่ทรงโลดโผนเข้าขั้นศิลปิน เป็นผู้ที่ถูกวางไว้ให้ปกครองกรุงศรีอยุธยาสืบต่อจากพระราชบิดา (สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ) เพราะเป็นผู้ที่มีพระปรีชาสามารถฉลาดหลักแหลมสมกับเป็น ‘กวีเอก’ แห่งยุค ‘บ้านเมืองดี’ ทรงเป็นกวีเอกของกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยฝากถ้อยคำ ‘พระเสด็จโดยแดนชลฯ’ ใช้เห่เรือจนมาถึงปัจจุบัน
แต่เพราะเหตุใด ถึงไม่ปรากฏชื่อ ‘เจ้าฟ้ากุ้ง’ ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา…THE STATES TIMES Story มีคำตอบ!!
มรดกตกทอดจาก ‘สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ’ มาจนถึง ‘กรมหมื่นเทพพิพิธ’ ทำให้รู้ว่าคนโคราช ไม่ใช่ ‘ลาว’ และสำเนียงโคราชมีความเหน่อเฉพาะตัว
ปัจจุบันภาษาและสำเนียงโคราชที่เป็นเฉพาะก็มีอยู่หลายอำเภอ แต่ก็ไม่ทั้งหมด เพราะหลายอำเภอก็พูดอีสาน แต่ทว่า ‘ภาษา’ และ ‘สำเนียงโคราช’ มีความคล้ายความเหน่อของคนภาคตะวันออก แต่ภาษาแตกต่างออกไป
ส่วนจะมาที่มาที่ไปอย่างไร ติดตามได้ใน THE STATES TIMES Story เรื่องจริง ฟังเพลิน
‘บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์’ ผู้ได้รับการยกย่องจากนานาชาติ ในฐานะ ‘วีรบุรุษ’ ผู้ปิดทองหลังพระและมีมนุษยธรรม จากวีรกรรมที่ได้ช่วยเหลือเชลยศึกที่ถูกเกณฑ์มาสร้างเส้นทางรถไฟสายมรณะ ที่จังหวัดกาญจนบุรี ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
ทว่าเรื่องราวของ ‘บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์’ กลับไม่ถูกเป็นที่พูดถึงในประเทศไทยอย่างกว้างขวาง วันนี้ THE STATES TIMES Story จึงได้หยิบยกเรื่องราว และความกล้าหาญของวีรบุรุษท่านนี้ มาบอกเล่าให้ทุกท่านได้รับทราบกัน จะเป็นอย่างไร เชิญรับฟัง…
เป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไป จากคำบอกเล่าและบันทึกของผู้ก่อการว่า กบฏ ร.ศ.๑๓๐ เป็นการรวมตัวกันของนายทหารหนุ่มหัวก้าวหน้า ที่ต้องการจะเปลี่ยนแปลงประเทศไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย แต่มาถูกจับได้เสียก่อน จึงกลายเป็น ‘กบฏ’
แต่เชื่อหรือไม่ว่า…ความเป็นจริงที่ถูกบันทึกไว้อย่าง ‘เป็นทางการ’ ช่างขัดแย้งกับบันทึกนี้คนละทิศละทาง และวันนี้ THE STATES TIMES Story จะมาไขความจริง เชิญรับฟังได้เลย…
เรื่องราวจากหนังสือ ‘ผู้นำ’ บรรณธิการโดย อัศวินโต๊ะกลม เป็นหนังสือที่รวบรวมผลงานและการทำงานของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะนายกรัฐมนตรี คนที่ 29 ของไทย ตลอดกว่า 8 ปีที่ผ่านมา เป็นผู้พลิกโฉมประเทศไทยไปตลอดกาล ให้สามารถโลดแล่นต่อไปได้อย่างไม่อายใคร นอกจากนี้ยังเป็นนายกรัฐมนตรี ‘สองแผ่นดิน’ ที่มีความโดดเด่นในหลายเรื่อง โดยเฉพาะความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ความยึดมั่นในผลประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชนเป็นสำคัญ
💙ผู้นำ ตอนที่ 1 : ผู้นำช่วงวิกฤติ
💙ผู้นำ ตอนที่ 2 : สร้างคน สร้างพลเมืองดี
💙ผู้นำ ตอนที่ 3 : ประชาชน ประเทศชาติ คือหัวใจของ ‘ประชารัฐ’
💙ผู้นำ ตอนที่ 4 : รู้เท่าทัน ทำทันที เห็นผลเป็นรูปธรรม
💙ผู้นำ ตอนที่ 5 : ‘ลุงตู่’ คือหมอใหญ่ นำทีมผ่าตัดเศรษฐกิจไทย
💙ผู้นำ ตอนที่ 6 : ‘กลยุทธ์ 3 แกน’ สร้างอนาคตไทยให้ก้าวหน้า
💙ผู้นำ ตอนที่ 7 : ‘ลุงตู่’ สุดยอด ‘ผู้นำ’ พาประเทศฝ่าฟันทุกวิกฤต
💙ผู้นำ ตอนที่ 8 : ก้าวข้าม ‘วิกฤตซ้อนวิกฤต’ พาประเทศมุ่งสู่ ‘โอกาส’
💙ผู้นำ ตอนที่ 9 : ‘ผู้นำ’ ยุคดิจิทัล พาไทยเข้าสู่ยุค 4.0
💙ผู้นำ ตอนที่ 10 : 'ลุงตู่' ผู้นำที่ฉันอยาก 'เดินตาม'
หนังสือ 'มาเหนือเมฆ' เรื่องราวบนเส้นทางการเมืองและผลงานของ 'ลุงตู่' พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ทหารเสือราชินีผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 29 ของประเทศไทย
รวบรวมบทความที่นักคิด นักวิเคราะห์ นักเขียนรับเชิญหลายท่านมาช่วยกันเติมแต่ง ได้แก่ คุณรุ่งเรือง ปรีชากุล อดีตบรรณาธิการบริหารสยามรัฐสัปดาหวิจารณ์, คุณทิวา สาระจูฑะ บรรณาธิการนิตยสารสีสัน, รศ.หริรักษ์ สูตะบุตร อดีตรองอธิการบดีฝ่ายบริหารบุคคล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คุณนิติพงษ์ ห่อนาค ศิลปินและนักแต่งเพลง และ คุณ พ.สิทธิสถิตย์ อดีตบรรณาธิการหนังสือพิมพ์/นิตยสาร
บรรณาธิการโดย คำรณ ปราโมช ณ อยุธยา
💙ตอนที่ 1 : ‘ลุงตู่’ เป็นมากกว่าผู้นำ
💙ตอนที่ 2 : ชีวิตนี้ ขอทำเพื่อชาติและประชาชน
💙 ตอนที่ 3 : ‘ลุงตู่’ ฮีโร่ผู้กอบกู้วิกฤต
💙ตอนที่ 4 : ปณิธานแน่วแน่ “ประเทศไทยต้องดีกว่าเดิม”
💙ตอนที่ 5 : ‘ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี’ พาไทย ‘มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน’
💙ตอนที่ 6 : ‘EEC’ หัวใจสำคัญ ยุคไทยแลนด์ 4.0
💙ตอนที่ 7 : พัฒนา ‘ระบบคมนาคม’ เสริมแกร่งไทยทุกมิติ
💙ตอนที่ 8 : ‘เทคโนโลยี-ดิจิทัล’ กุญแจสำคัญขับเคลื่อน ‘เศรษฐกิจไทย’
💙ตอนที่ 9 : ฟื้นสัมพันธ์ ‘ไทย-ซาอุฯ’ เริ่มทศวรรษแห่งความร่วมมือ
💙ตอนที่ 10 : ผลงานชิ้นโบแดง เจ้าภาพ ‘เอเปก 2022’
'หลวงพ่อกบ' วัดเขาสาริกา หรือ 'สมเด็จพระบรมครู' ตามประวัติของท่านนั้น ไม่มีใครรู้ว่าท่านเป็นใคร มาจากไหน เกิดเมื่อไหร่ บวชเมื่อไหร่ ใครเป็นพระอุปัชฌาย์ ไม่มีใครรู้แน่ชัด เพราะท่านไม่เคยเล่าเรื่องส่วนตัวให้ใครฟังแม้แต่คนเดียว
แต่หากใครถาม 'หลวงพ่อกบ' ก็มักตอบเพียงว่า "กูไม่มีอดีต กูมีแต่ปัจจุบันและอนาคต" และหากใครถามถึงอายุท่านจะว่า "กูจำไม่ได้" แล้วท่านก็ไม่ยอมพูดอะไรอีกเลย
เรื่องราวของ ‘พระองค์เจ้าขุนเณร’ มีการจดบันทึกไว้ไม่มากนัก แต่ที่มีให้ได้อ่าน ได้เห็นก็ระบุไว้ว่า เป็นพระโอรสของ ‘พระเจ้าขุนรามณรงค์’ แต่มีชาติกำเนิดเป็นสามัญชน เนื่องจากเกิดจากอนุภรรยา นับว่าเป็นเจ้านายนอกราชวงศ์จักรี แต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นเจ้านายในพระราชวงศ์จักรีในชั้นพระองค์เจ้า เนื่องจากทรงพระเมตตาและทรงเล็งเห็นว่าเจ้านายพระองค์นี้จะเป็นกำลังสำคัญต่อกองทัพของกรุงรัตนโกสินทร์