Wednesday, 24 April 2024
INFO & TOON

เปิดประวัติ 'นายอุดม รัฐอมฤต' ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ที่ถูกนักศึกษา มธ.แบน!! ไม่ให้มาเป็นอาจารย์สอนพิเศษ

🔍 เช็กประวัติ 'นายอุดม รัฐอมฤต' ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ที่ถูกนักศึกษา มธ.แบน!! ไม่ให้มาเป็นอาจารย์สอนพิเศษ

รู้หรือไม่!? ‘ประเทศไทย’ ติดอันดับ 11 ของโลก ประเทศที่มี ‘ทอง’ และ ‘เงินทุนสำรอง’ มากที่สุด

🔍 รู้หรือไม่!? ‘ประเทศไทย’ ติดอันดับ 11 ของโลก ประเทศที่มี ‘ทอง’ และ ‘เงินทุนสำรอง’ มากที่สุด✨✨

พระมหากษัตริย์ทรงสร้างบ้านแปลงเมือง และกลายเป็นศูนย์รวมใจของคนไทยทั้งชาติ

พระมหากษัตริย์ทรงสร้างบ้านแปลงเมือง และกลายเป็นศูนย์รวมใจของคนไทยทั้งชาติ

สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 21 ก.ค. 66

📌สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 21 ก.ค. 66

5 ประเทศที่ใช้เวลาจัดตั้งรัฐบาล ‘นานที่สุดในโลก’

ช่วงนี้การเมืองไทยร้อนระอุ และถูกพูดถึงอย่างหนักหน่วงทั้งในโลกออนไลน์ ออฟไลน์ และสื่อต่างชาติก็ให้ความสนใจอย่างยิ่ง หลายคนเกิดความกังวลว่าการจัดตั้งรัฐบาลในครั้งนี้จะใช้เวลานานและส่งผลกระทบต่อประเทศชาติและประชาชน 

วันนี้ THE STATES TIME ได้รวบรวม 5 ประเทศที่ใช้เวลาจัดตั้งรัฐบาล ‘นานที่สุดในโลก’ มาให้ดูกัน จะมีประเทศอะไรบ้างมาดูกัน

1. เบลเยียม ใช้เวลา 541 วัน การเลือกตั้งในปี 2010 ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ เพราะความแตกต่างทางนโยบาย จากฝ่ายการเมืองอย่าง ‘พรรคการเมืองฝ่ายเฟลมมิช’ และ ‘ฝ่ายฟรองโคโฟน’ โดยเฉพาะเรื่องการปฏิรูปประเทศ ไม่มีรัฐบาลกลางเกือบ 2 ปี จนถูกบันทึกลงสถิติโลก

2. สเปน ใช้เวลา 315 วัน ในปี 2015 การเลือกตั้งครั้งนี้ไม่อาจทำให้สเปนพ้นจากทางตันได้ เพราะถึงแม้พรรคสายอนุรักษ์นิยมจะชนะ แต่ไม่สามารถคุมเสียงข้างมากในสภาที่จำนวน 176 ที่นั่งเอาไว้ได้ จากทั้งหมด 350 ที่นั่ง อีกทั้งพรรคการเมืองอื่น ๆ ก็มีท่าทีต่อต้านการเมืองรูปแบบเดิม ๆ โดยพรรคประชาชนสเปนพยายามเจรจากับกลุ่มพรรคการเมืองอื่นหลายครั้ง แต่ก็ล้มเหลว กว่าจะตั้งรัฐบาลได้สำเร็จก็กินเวลาเกือบ 1 ปี

3. เนเธอร์แลนด์ ใช้เวลา 225 วัน หลังการเลือกตั้งในปี 2017 รัฐบาล 4 พรรคผสมของเนเธอร์แลนด์ ที่มีทั้งสายเสรีนิยมและอนุรักษ์นิยม โดยมีนโยบายสนับสนุนความหลากหลายทางเพศที่ต่างกัน จนต้องใช้เวลาเจรจากัน 225 วัน แถมยังมีเสียงข้างมากเกินรัฐสภาแค่ 1 เสียงเท่านั้น ขณะที่มีพรรคการเมืองอยู่ในสภาถึง 13 พรรค 

4. เยอรมนี ใช้เวลา 136 วัน เกือบจะต้องเลือกตั้งใหม่ เพราะจัดตั้งรัฐบาลไม่สำเร็จ เมื่อนางแองเกลา เมเคิล ผู้นำพรรค CDU ชนะการเลือกตั้งในปี 2017 ด้วยคะแนน 33% ซึ่งถือว่าต่ำมาก จึงต้องจัดตั้งรัฐบาล รวมกับพรรค SDP ซึ่งได้ที่นั่งอันดับ 2 แต่การเจรจาล้มเหลวหลายครั้ง เพราะมีนโยบายไม่ตรงกันหลายเรื่อง จนต้องใช้เวลาเจรจานาน 136 วัน ท้ายสุดต้องยอมยก ก.คลัง ก.ต่างประเทศ ก.แรงงาน ให้พรรค SDP ถือเป็นการเจรจาที่นานที่สุดในประวัติศาสตร์เยอรมนี

5. สวีเดน ใช้เวลา 134 วัน ในปี 2018 พรรค Social Democrats ได้คะแนนเสียงต่ำที่สุดในรอบศตวรรษของพรรค จึงต้องรวมคะแนนเสียงกับกลุ่มพรรคฝั่งซ้ายอื่น ๆ จนอยู่ที่ 40.6% ขณะที่อันดับ 2 รวมคะแนนเสียงได้อยู่ที่ 40.3% ซึ่งนั่นก็ยังไม่พอให้ Social Democrats จัดตั้งรัฐบาลได้ ทางรัฐสภาจึงมีมติหลังการเจรจากว่า 134 วัน ให้ผู้นำพรรค Social Democrats เป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย ตัดปัญหาการเลือกตั้งที่หาข้อสรุปไม่ได้ไป

10 ดาราชาย วัย 50+ เวลากระชากความหล่อไปไม่ได้

🔍 หล่อไม่ง้ออายุ!! ชวนส่อง 10 ดาราชายไทย อายุเข้าหลัก 5 หลัก 6 แต่ออร่ายังกระแทกตาสุดๆ บอกเลยว่า 'กาลเวลา' ก็ไม่อาจกระชากความหล่อนี้ไปได้ ✨✨

สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 20 ก.ค. 66

📌สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 20 ก.ค. 66

5 เมืองแห่งอาเซียนที่ค่าครองชีพ 'ถูก' นักลงทุน-ชาวต่างชาติ 'อยากมาอยู่-ทำธุรกิจ' ไปยาวๆ

ค่าครองชีพในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ณ ปัจจุบัน กำลังเป็นแรงดึงดูดต่อนักลงทุนและชาวต่างชาติที่วาดอนาคตในการอยู่อาศัยระยะยาวและมองหาการลงทุนทางธุรกิจมากขึ้น

โดย 5 เมืองใหญ่ในอาเซียนเหล่านี้ มีค่าครองชีพ อาหารการกินไม่แพง แหล่งเที่ยวหลากหลาย สาธารณูปโภคพื้นฐานพร้อมสรรพ และวัฒนธรรมอันดีงาม ที่ดึงดูดต่างชาติได้มากจริง ๆ โดยเฉพาะกับประเทศไทย ที่หลากเสียงจากนักลงทุนและชาวต่างชาติ หวังที่จใช้ประเทศนี้เป็นบ้านหลังที่ 2 กันเลยทีเดียว

สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 19 ก.ค. 66

📌สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 19 ก.ค. 66

States TOON EP.133

Armageddon

ติดตามการ์ตูนอัปเดตได้ทุกสัปดาห์ใน…

ติดตามการ์ตูนสนุกๆ เพิ่มเติมได้ที่ : https://thestatestimes.com/tag/statestoon
 

ส่องความฮอต!! 4 ส.ส.หญิง จาก ‘พรรคก้าวไกล’

ชวนส่อง!! 4 ส.ส.หญิง จาก ‘พรรคก้าวไกล’ ก่อนเข้าสภาฯ เคยทำอะไรกันมาบ้าง ไปดูกัน!!

แก้วตา ธิษะณา ชุณหะวัณ ส.ส.กทม.เขต 2

สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 14 ก.ค. 66

📌สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 14 ก.ค. 66

เปิดหน้า 13 ส.ว. โหวตให้ 'พิธา'

เมื่อวานนี้ (13 ก.ค.66) ที่รัฐสภา ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังผลการลงคะแนนไม่เห็นชอบ ให้นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกล เป็นนายกฯ ด้วยคะแนนเห็นชอบ 324 เสียง ไม่เห็นชอบ 182 เสียง งดออกเสียง 199 เสียง ซึ่งถือว่าไม่ถึงกึ่งหนึ่งนั้น ปรากฏว่า ส.ว.ที่เห็นชอบจำนวน 13 คน ได้แก่ 

1. นายไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์ 
2. พ.ต.อ.จรุงวิทย์ ภุมมา 
3. นายเฉลา คงมาลัย 
4. นายซากีย์ พิทักษ์คุมพล 
5. พล.ต.ท.ณัฏฐวัฒก์ รอดบางยาง 
6. นายพิศาล มาณวพัฒน์ 
7. นายพีระศักดิ์ พอจิต 
8. นายมณเทียร บุญตัน 
9. นายวันชัย สอนศิริ 
10. นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ 
11. นายสุรเดช จิรัฐิติเจริญ 
12. นพ.อำพล จินดาวัฒนะ 
13. นางประภาศรี สุฉันทบุตร          

ขณะที่ นายนพดล มาตรศรี ส.ส.สุพรรณบุรี พรรคชาติไทยพัฒนา ลงมติเห็นชอบ ตอนหลังเมื่อการลงมติเสร็จสิ้น ประธานรัฐสภา ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกที่ยังไม่ได้ลงมติ ได้ลงมติ โดยนายพดล ได้ขอเปลี่ยนมติจากเห็นชอบ เป็นงดออกเสียง 

ทำให้นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ ส.ส.เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทย ทักท้วงว่า เรื่องการเปลี่ยนมติ ตนเข้าใจว่าประธานฯ อาจจะใช้เหตุผลว่ายังไม่ได้ปิดการลงคะแนนซึ่งถูกต้อง แต่ด้วยกระบวนการสิ่งที่เราทำกันคือการลงมติ ได้ลงมติไปแล้ว และขานผลของตัวเองไปแล้วเป็นเวลาเกือบ 2 ชั่วโมง แต่มากลับมติ น่าจะทำให้ประเพณีปฏิบัติที่เราทำมาให้เกิดปัญหาได้ ซึ่งไม่เคยทำ และเราก็รู้กันอยู่ว่าการลงมติสำคัญเช่นนี้ มีกลไก วิธีการ การกดดัน อะไรอีกมากมายแล้วมาเปลี่ยนในตอนท้าย ทำให้เราเกิดความสงสัยว่า เหตุใดจึงเปลี่ยนการลงมติ อยากถามประธานฯ ว่าจะเดินเส้นทางนี้ตลอดไปหรือเป็นประเพณีที่เราจะต้องดำเนินต่อไปใน 4 ปีข้างหน้าหรือไม่ และไม่มีข้อบังคับไหนบอกให้เปลี่ยนมติของตนได้ ซึ่งในข้อบังคับข้อที่ 59 ระบุว่าสมาชิกรัฐสภาซึ่งเข้ามาในที่ประชุม ระหว่างการออกเสียงลงคะแนน ออกเสียงลงคะแนนได้ หมายความถึงคนที่ยังไม่ใช้สิทธิ์ ไม่ได้หมายความว่าคนใช้สิทธิ์ไปแล้วอยากจะเปลี่ยนการลงมติของตน อย่างนี้ถ้าคะแนนปริ่มกัน 1-2 คะแนน แล้วมาเปลี่ยนอย่างนี้ ถ้าเป็นเรื่องใหญ่ เราเดินต่อไม่ได้

สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 13 ก.ค. 66

📌สรุปตลาดหุ้น ประจำวันที่ 13 ก.ค. 66


© Copyright 2021, All rights reserved. THE STATES TIMES
Take Me Top