'รัฐบาล' ปฏิรูปตำรวจครั้งใหญ่
'รัฐบาล' ปฏิรูปตำรวจครั้งใหญ่ แก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ลดจุดอ่อนกฎหมายเดิม

'รัฐบาล' ปฏิรูปตำรวจครั้งใหญ่ แก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ลดจุดอ่อนกฎหมายเดิม
ตลอดเวลาที่ผ่านมารัฐบาลมุ่งพัฒนาระบบคมนาคมของไทยให้ดียิ่งขึ้นและครอบคลุมทั่วประเทศ ‘รถไฟทางคู่สายใต้ เฟส 2’ เป็นอีกหนึ่งโครงการที่รัฐบาลเร่งดำเนินการ ถือเป็นมิติใหม่แห่งการเดินทาง เชื่อมโยงการคมนาคม ลดค่าใช้จ่ายของประชาชน และทำให้พี่น้องประชาชนในพื้นที่ภาคใต้สะดวกสบายในการเดินทาง นอกจากนี้ยังเป็นทางเชื่อมไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านได้อีกด้วย
สรุปเหรียญ 'ซีเกมส์ 2023' ไทยคว้าชัยไปกี่เหรียญ มาดูกัน!!
ข้อมูล ณ วันที่ 11 พ.ค. 2566 เวลา 18.00 น.
'บิ๊กตู่' ตั้งเป้า!! ขจัดความยากจน ช่วยคนไทยให้ลืมตาอ้าปาก 653,524 ครัวเรือน หรือ 1,028,112 คน
‘รถไฟทางคู่สายตะวันออก’ เส้นทางศรีราชา-ระยอง มาบตาพุด-ระยอง-จันทบุรี-ตราด-คลองใหญ่ ระยะทางกว่า 340 กิโลเมตร เสริมศักยภาพโครงข่ายทางราง รองรับการขนส่งผลไม้และพัฒนานิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก EEC
ตลอดเวลาที่ผ่านมารัฐบาลมุ่งพัฒนาระบบคมนาคมของไทยให้ดียิ่งขึ้นและครอบคลุมทั่วประเทศ ‘รถไฟทางคู่สายใต้’ เป็นอีกหนึ่งโครงการที่รัฐบาลเร่งดำเนินการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตการเดินทางของประชาชนภาคใต้ และลดระยะเวลาการเดินทาง จาก 6 ชม. เหลือเพียง 4 ชม. คาดว่าจะเปิดให้บริการบางส่วนภายในปีนี้
‘สนามบินบึงกาฬ’ ถือเป็นอีกหนึ่งประตูบ้านของไทยที่เปิดต้อนรับนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก สามารถรองรับนักท่องเที่ยวปีแรกกว่า 1.5 แสนคน พร้อมทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสทางธุรกิจ และการท่อเที่ยวอีกด้วย
8 ปีที่ผ่านมา 'รัฐบาล' เดินหน้าพัฒนา 'คมนาคม-เศรษฐกิจ' แบบไม่หยุดยั้ง!! จะมีอะไรบ้าง ไปดูกัน!!!
>> พลิกโฉมคมนาคม
-มอเตอร์เวย์ สร้างเพิ่ม 3 เส้นทางสำคัญ
-รถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง
-รถไฟราง แผนสร้างเพิ่ม 20 ปี รวมระยะทาง 8,900 กิโลเมตร
-โครงการรถไฟทางคู่ ขอนแก่น-หนองคาย คาดเปิดให้บริการ ปี 2569
>> เศรษฐกิจเติบโต
-มูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 31 ต่อปี
-EEC เริ่มลงทุนแล้ว 4,925 โครงการ
-ปี 2558 - 2565 รัฐได้สนับสนุน SMEs ไทย 5,111 โครงการ มูลค่าลงทุนรวม 214,174 ล้านบาท
รัฐบาลมุ่งพัฒนาทุกพื้นที่ในประเทศไทยให้เกิดความเจริญ และเป็นประโยชน์แก่พี่น้องประชาชน ได้สร้างสะพานเกาะคอเขา-บ้านน้ำเค็ม ที่จังหวัดพังงา เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่ให้ไปมาหาสู่กันได้สะดวก ลดข้อจำกัดแพขนานยนต์ ลดระยะเวลาการเดินทาง อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่อีกด้วย
สำหรับการฟื้นฟูความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ราชอาณาจักร ‘ไทย-ซาอุดีอาระเบีย’ ที่ห่างหายมานานกว่า 32 ปี ได้สำเร็จนั้น ส่งผลในทางบวกที่ประชาชนทั้ง 2 ประเทศต่างรอคอย และชาวโลกก็เฝ้าติดตามเช่นกัน ในที่สุดความหวังที่มีมาอย่างยาวนานถึง 14 รัฐบาล ก็เกิดขึ้นจริงในปี 2565 มีการแลกเปลี่ยนการเยือนอย่างเป็นทางการ ในฐานะแขกของรัฐบาล (Official Visit)
โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ได้เดินทางเยือนซาอุดีอาระเบีย เมื่อวันที่ 25 ม.ค.65 และเจ้าชายมุฮัมมัด บิน ซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด มกุฎราชกุมาร และนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย เสด็จเยือนไทย เมื่อวันที่ 18 พ.ย.65
2 เหตุการณ์ครั้งประวัติศาสตร์นี้นำมาสู่การยกระดับความร่วมมือเบื้องต้นที่สำคัญ ๆ ได้แก่ ด้านพลังงาน, ด้านการท่องเที่ยว และด้านการค้า-การลงทุน
อีกทั้งมีการจัดตั้ง ‘สภาความร่วมมือไทย-ซาอุดีอาระเบีย’ และการแต่งตั้ง ‘เอกอัครราชทูต’ ในเวลาต่อมา ถือเป็นการสิ้นสุด 3 ทศวรรษแห่งหมองมัว เพื่อเริ่มต้นศักราชใหม่แห่งความร่วมมือ สร้างสรรค์ และพัฒนาร่วมกัน
และแม้ยังไม่ทันข้ามปี...ผลสัมฤทธิ์ในการผูกมิตร ฟื้นสัมพันธ์ของ ‘2 ราชอาณาจักร’ ก็เกิดขึ้น คือ ภาคเอกชนไทย-ซาอุดีอาระเบีย รับลูกการเจรจาการค้า-การลงทุนในอนาคตทันที แล้วข่าวดีก็ปิดไม่มิด เมื่อฝ่ายซาอุดีอาระเบียประกาศว่า ในปี 2566 ปีเดียวจะขยายการลงทุนขนานใหญ่ กว่า 300,000 ล้านบาท ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว, อุตสาหกรรมเมดิคัลแคร์, อุตสาหกรรมน้ำมัน และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่รัฐบาลนี้ ได้เตรียมความพร้อมไว้รอการลงทุนจากทั่วโลกแล้ว